โคมล้านนา แบ่งได้เป็น 8 ชนิด คือ 1. โคมแปดเหลี่ยม 2.โคมไห 3.โคมดาว 4. โคมหูกระต่าย 5. โคมไต 6. โคมดอกบัว 7. โคมผัด 8. โคมรูปสัตว์
ในปัจจุบันมีการพัฒนารูปแบบให้แตกต่างออกไปอีกเป็นจำนวนมากและยังมีการทำโคมเพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมต่างๆอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งประยุกต์ใช้ในการ
ตกแต่งอาคารสถานที่ เพื่อให้เกิดความสวยงามได้บรรยากาศแบบล้านนา การเรียนรู้การทำโคมไฟแบบล้านนายังมีผู้ใช้ให้ความสำคัญอนุรักษ์และสืบสานอย่าง
ต่อเนื่องทั้งในระดับครอบครัวและหมู่บ้าน
Lanna Lantern
A lantern is a light shied that protects the light from the wind. Inside , a candle or Pang Prateep are lid (Pang Prateed is small clay saucer
fillde with animal fat such as bee wax or vegetable oil. It is dipped with a smallcord as a lamp - wick to last longer.) In the former time, farmers went to
their paddy field at night where they lid the candle in order to light the place up. Sometimes, the wind just blew the light off. The farmers covered them
with baskets wrapped with papers. So, they needed not light the candles up again and again . In the latter days , the farmers applied the use of these
lantherns to be sacrifice for Loard Budda during the Yee peng (Loy Krathong) tradition and festival of Lanna people. Lanterns are considered noble
objects to show prosperity according to the legend in Phra Dhamma Tesana "Anisong Pang Pathit (Prateep)" scripture. Anyone who worshiped Lord
Buddha with a lanthern during the Yee Peng tradition and festival will receive the fruit of the merit by living peaceful and happy lives.
Lantherns are made of long - segmented bamboo sticks, which are put together as a structure, wrapped with fabric or broze paper cut in
elaborated patterns.
8 Kinds of Lanna Lanterns
1. Octagonal Lantern
2. Jar Lantern
3. Star Lantern
4. Tai Lantern
5. Hoo Kratai Lantern
6. Lotus Lantern
7. Phat Lantern
8. Animal Lantern
Nowadays, there are many more lantern styles developed to a variety of shapes. Lantern are also made to be sacrifice for many more rites.
In fact, they are modified to decorate the place to radiate a warm atmosphere of lanthern beauty (Seven upper northern Provinces used to belong
to former Lanna Kingdom) Lanna Lantern making is a taught to interested people : therefore it is well conserved as Lanna heritage at the House
hold and village levels.
ประวัติ อาจารย์ เบญพล สิทธิประณีต
 |
ท่านเกิดเมื่อวันพฤหัสที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2501 บิดาชื่อ นาย วิมล สิทธิประณีต มารดาชื่อ นาง อาภรณ์ สิทธิประณีต
ซึ่งท่านมีภูมิลำเนาเป็นคนเชียงใหม่ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านอาภรณ์ 8 - 10 ถ.เจริญเมือง ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000
อาชีพของท่าน คือ มัคคุเทศก์, ครูภูมิปัญญา และ จบการศึกษาจาก มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนปรินส์รอยแยลวิทยาลัย
มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพเชียงใหม่ ปริญญาตรีจาก คณะสังคมศาสตร์ สาขาบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัย
พายัพ จ. เชียงใหม่ และ จบมัคคุเทศก์รุ่นที่ 15 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การจัดแสดงผลงานทางศิลปะของท่าน มีการแสดงผลงานสืบสานล้านนา ครั้งที่ 3 - 4, การแสดงผลงาน ตามฮีต โตยฮอย
สล่าเมือง ครั้งที่ 1-2 , การแสดงผลงานไทยเที่ยวไทย เมืองทองธานี, การแสดงผลงานหอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ เทศบาล
นครเชียงใหม่
|
ผลงานสอนของท่านมีดังต่อไปนี้คือ ครูสอนทำโคมและตุงโฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา เชียงใหม่, ครูสอนคณะ ศิลปะศาสตร์ สาขาการละคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ,
ครูสอนนักศึกษามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กรุงเทพมหานคร, ครูสอนนักศึกษาชมรมศิลปวัฒนธรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , ครูสอนนักศึกษาคณะต่างๆในมหาวิทยาลัยเอกชน
หลายแห่ง, ครูสอนนักเรียนโรงเรียนในจังหวัดเชียงใหม่ เช่น มงฟอร์ตวิทยาลัย โรงเรียน นานาชาติเปรม, ครูสอนนักเรียนวันอาทิตย์ วัดสวนดอก อ.เมือง จ.เชียงใหม่
|
|
|