ชื่ออื่น    ภาคเหนือเรียกว่า ข่าหลวง ข่าหยวก ข่าใหญ่ ข่าตาแดง

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น  เป็นหัวอยู่ใต้ดิน มีลักษณะเป็นข้อและปล้อง
ใบ    เป็นใบเดี่ยวเรียบสลับ รูปหัวใจขอบใบเรียบ แผ่นใบเป็นมันวาว สีเขียวอ่อน ความกว้างและความยาวประมาณ 5-8 ซม. อวบน้ำ
ดอก  เป็นดอกช่อออกตามชอกใบ มีดอกติดที่ก้านออกสีขาวหรือสีชมพูอ่อน
ผล ทรงกลมสีเขียวขนาด 0.3-0.5 เมื่อสุกจะมีสีน้ำตาลเข้มหรือดำ ภายในผลมีเมล็ดทรงกลม มีสีน้ำตาล เปลือกแข็ง การขยายพันธุ์ เมล็ด หรือ ปักชำเถา ฤดูเก็บส่วนขยายพันธุ์ ตลอดทั้งปี สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ชอบที่ชื้นระบายน้ำดี แสงแดดรำไร การใช้ประโยชน์

ทางอาหาร ยอดและช่อดอก ใช้แกงหรือลวกจิ้มน้ำพริก
ทางยา แก้โรคกระเพาะอักเสบ ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ เก็บบริโภคได้ตลอดปี


ที่มาของข้อมูล


กัญจนา ดีวิเศษ และคนอื่นๆ. 2542. ผักพื้นบ้านภาคเหนือ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

 

                                                 
                                                          ข่า